ประมวลรายวิชา (Course Syllabus)
1. รหัสรายวิชา 303251
2. จำนวนหน่วยกิจ 3 (3-0)
3. ชื่อวิชา เครื่องวัดและการวัดปริมาณทางไฟฟ้า
(Electrical Instruments and Measurement)
4. คณะ/ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์
5. ภาคการศึกษา 2
6. ปีการศึกษา 2550
7. ชื่อผู้สอน อาจารย์ สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ห้องทำงาน EE217
E-mail: sarawutw@nu.ac.th
8. เงื่อนไขรายวิชา วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 303211 Electrical Circuit Analysis I
9. สถานภาพวิชา วิชาบังคับ
10. ชื่อหลักสูตร วิศกรรมศาสตรบัณฑิต
11. วิชาระดับ ปริญญาตรี
12. จำนวนชั่วโมงสอน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์
13. คำอธิบายรายวิชา (Course Description)
ระบบหน่วยและมาตรฐานของการวัด การชิลด์ ความปลอดภัย ความแม่นยำ ความเที่ยงตรง ความผิดพลาดของการวัด การวัดเชิงอุปมาน กัลวานอมิเตอร์ แอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์ โอห์มมิเตอร์ มัลติมิเตอร์ โพเทนชิโอมิเตอร์ บริดจ์กระแสตรงและกระแสสลับ การวัดความจุไฟฟ้า ความเหนี่ยวนำ และอิมพีแดนซ์ที่ความถี่ต่ำและความถี่สูง การวัดกำลังไฟฟ้า พลังงาน มุมเฟส และองค์ประกอบกำลัง ออสซิลโลสโคป การวัดและเครื่องมือวัดเชิงเลข หลักการแปลงสัญญาณเชิงอุปมานเป็นเชิงเลข และการแปลงสัญญาณเชิงเลขเป็นเชิงอุปมาน ทรานสดิวเซอร์เชิงอุปมานและเชิงเลข การวัดสนามแม่เหล็ก สัญญาณรบกวนและการเพิ่มอัตราส่วนสัญญาณต่อสัญญาณรบกวน
14. เนื้อหารายวิชาต่อสัปดาห์ (Course Outline)
14.1 วัตถุประสงค์ทั่วไป/พฤติกรรม
v เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐานในหลักการทำงาน และการใช้เครื่องมือวัด เพื่อใช้วัดปริมาณทางไฟฟ้าต่างๆ
v สามารถนำความรู้ที่ได้ ไปประยุกต์ใช้ในกับเครื่องมือวัดทางปริมาณไฟฟ้าที่มีใช้อยู่จริง ในชีวิตประจำวันได้
14.2 เนื้อหารายวิชาต่อสัปดาห์
สัปดาห์ที่ |
เนื้อหารายวิชา |
หมายเหตุ |
1-2 |
บทนำ (นิยาม วัตถุประสงค์ ชนิด และ วิธีการวัด) , ระบบหน่วยและมาตรฐานการวัด |
|
3 |
ความแม่นยำ ความเที่ยงตรง ความผิดพลาดของการวัด |
|
4 - 5 |
เครื่องมือวัดกระแสตรง (กัลวานอมิเตอร์, แอมมิเตอร์, โวลต์มิเตอร์, แอมมิเตอร์) |
เชิงอุปมาน |
6 |
เครื่องมือวัดกระแสสลับ |
เชิงอุปมาน |
7 |
โพเทนชิโอมิเตอร์, บริดจ์กระแสตรงและกระแสสลับ |
|
8 |
สอบกลางภาค |
|
9 |
การวัดความจุไฟฟ้า ความเหนี่ยวนำ และ อิมพีแดนซ์ |
|
10 |
การวัดกำลังฟ้า พลังงาน มุมเฟส และ องค์ประกอบกำลัง |
|
11 |
ออสซิลโลสโคป |
|
12 |
การวัดและเครื่องมือวัดเชิงเลข |
|
13 |
การแปลงสัญญาณเชิงอุปมานเป็นเชิงเลข และการแปลงสัญญาณเชิงเลขเป็นเชิงอุปมาน |
|
14 |
ทรานสดิวเซอร์เชิงอุปมานและเชิงเลข |
|
15 |
การวัดสนามแม่เหล็ก |
|
16 |
สัญญาณรบกวนและการเพิ่มอัตราส่วนสัญญาณต่อสัญญาณรบกวน |
|
17 |
สอบปลายภาค |
|
14.3 วิธีจัดการเรียนการสอน
v บรรยาย (Lecture)
14.4 สื่อการสอน
v สื่อนำเสนอแบบ PowerPoint media
14.5 เกณฑ์การประเมินผลการเรียน
ระบบการประเมินผลการเรียนใชระบบประเมินอิงเกณฑและอิงกลุม ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ผูที่สอบไดคะแนนต่ำกวารอยละ 40 จะไดเกรด F สวนผูที่ไดคะแนนสูงกวาจะไดเกรด A, B+, B, C+, C, D+ และ D โดยพิจารณา จากคะแนนรวมที่ไดแบบอิงกลุม สําหรับนิสิตที่ขาดสอบจะไดศูนยคะแนนในครั้งนั้นๆ
14.6 เกณฑ์การวัดผลการเรียน
v สอบกลางภาค 35 คะแนน
v สอบปลายภาค 45 คะแนน
v ความสนใจเข้าเรียน 10 คะแนน
v การบ้านและรายงาน 10 คะแนน
v รวม 100 คะแนน
15. หนังสืออ้างอิง
1. Albert D.Helfrick and William D. Cooper : Modern Electronic Instrumentation and Measurement Techniques, Prentice Hall International Editions, 1994.
2. รศ.ดร. เอก ไชยสวัสดิ์ : การวัดและเครื่องวัดไฟฟ้า, สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย ญี่ปุ่น).
3. ศักรินทร์ โสนันทะ : เครื่องมือวัดและการวัดทางไฟฟ้า, บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน).
4. W. Bolton : การวัดและการทดสอบทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์, บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน).